สิ่งที่ผู้หางานคนอื่น ค้นหาเพิ่มเติม
ข้าราชการ คือ ผู้ที่ได้รับการ บรรจุ แต่งตั้ง ให้รับราชการ มีหน้าที่ ปฎิบัติ และรับเงินเดือน ในกระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ ของราชอาณาจักรไทย ส่วนองค์กร ที่ข้าราชการ ปฏิบัติงาน คือ ส่วนราชการ มีด้วยกัน 10 หน่วย ดังนี้
1. ข้าราชการ พลเรือนสามัญ คือ ข้าราชการ ที่ปฏิบัติ หน้าที่ราชการ ใน กระทรวง ทบวง กรมฝ่ายพลเรือน
2. ข้าราชการ พลเรือนในพระองค์ คือ ข้าราชการ พลเรือน สังกัดใน สำนักพระราชวัง และสำนัก ราชเลขาธิการ มีหน้าที่ เกี่ยวกับงาน ของพระองค์ พระมหากษัตริย์
3. ข้าราชการ พลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา คือ ข้าราชการ หรือ พลเรือน ในสังกัด สถาบัน อุดมศึกษา ของรัฐ ในสังกัด กระทรวง ศึกษาธิการ แต่ไม่รวม สถานศึกษา ของรัฐที่ไม่ใช่ ส่วนงานราชการ
4. ข้าราชการครู และบุคลากร ทางการศึกษา คือ ครูบาอาจารย์ ที่ทำงานใน โรงเรียน ของรัฐ ต่าง ๆ
5. ข้าราชการ ตำรวจ คือ ตำรวจ
6. ข้าราชการ ทหาร คือ ทหารของไทย แบ่งออกเป็น 3 เหล่าทัพ ได้แก่ ทหารเรือ ทหารอากาศ และ ทหารบก
7. ข้าราชการ ฝ่ายตุลาการ คือ ชื่อข้าราชการ ที่ทำงานในศาลปกครอง และศาลรัฐธรรมนูญ ส่วนผู้พิพากษา เป็นตำแหน่ง ของข้าราชการ ตุลาการ
8. ข้าราชการ ฝ่ายอัยการ คือ ผู้ทำหน้าที่ ในบทบาทของ ทนายแผ่นดิน เพื่ออำนวย ความยุติธรรม รักษาผลประโยชน์ของรัฐ และคุ้มครอง สิทธิ และเสรีภาพ ของประชาชน ชาวไทย
9. ข้าราชการ ฝ่ายรัฐสภา คือ ข้าราชการ ฝ่ายรัฐสภา มี 2 ประเภท คือ 1. ข้าราชการ รัฐสภาสามัญ คือ ผู้รับราชการ ในตำแหน่งประจำ โดยได้รับ เงินเดือน ในอัตราสามัญ และได้รับ แต่งตั้งตามที่ บัญญัติไว้ ในหมวด 3 และมีคุณสมบัติ เบื้องต้น ตามมาตรา 24 2. ข้าราชการ รัฐสภาฝ่ายการเมือง คือ ฝ่ายการเมือง คือ ผู้รับราชการ ในตำแหน่ง การเมือง ของรัฐสภา
10. ข้าราชการ ส่วนท้องถิ่น คือ ข้าราชการ ผู้ปฏิบัติงาน ในองค์กรปกครอง ต่าง ๆ ของท้องถิ่น ในแต่ละจังหวัด ต่าง ๆ
คุณสมบัติของ ผู้สมัคร เข้ารับราชการ มีดังนี้
ส่วนคุณสมบัติ ที่ ข้าราชการ ทุกคนพึง ประพฤติ ปฏิบัติ คือ
ข้าราชการ ส่วนมากแล้ว จะประสบ กับปัญหาเรื่อง อัตราเงินเดือน และเงินประจำตำแหน่ง ที่ต่ำเกินไป ในยุคนี้ จึงหาคนเก่ง ๆ และคนดี ๆ ได้น้อยที่มาสมัครสอบ เข้าทำงาน เป็นข้าราชการ
หากคนดี คนเก่งเหล่านั้น มีทุนทรัพย์ เพียงพอ ส่วนมากก็ไป ประกอบอาชีพ ทำธุรกิจส่วนตัว เป็นพนักงาน รัฐ หรือทำงานเอกชน แทนที่จะ มาสมัครสอบ เป็นข้าราชการ เนื่องจาก เหตุผลเรื่อง เงินเดือน ซึ่งต่างกัน หลายเท่าตัว
โดยในปี 2560 สมัยรัฐบาล พลฯเอกประยุทธ์ ได้ปรับอัตรา เงินเดือน ใหม่ดังนี้คือ
ข้าราชการ ทั่วไป ที่มี 5 กลุ่มงาน เริ่มจาก
ข้าราชการ สายวิชาการ
ข้าราชการ อำนวยการ คือ ระดับ 8 และ 9
และเงินประจำ ตำแหน่ง ประเภทวิชาชีพเฉพาะ จะมี 5 ระดับ ดังนี้ จากเดือนละ 3,500 บาท, 5,600 บาท, 9,900 บาท, 13,000 บาท, และ 15,600 บาท
ประเภท บริหาร ระดับสูงมี 4 ระดับ จากเดือน ละ 5,600 บาท, 10,000 บาท, 14,500 บาท, และ 21,000 บาท ซึ่งหมายความว่า ข้าราชการ ระดับปลัด กระทรวง จะมีรายได้ ต่อเดือน ไม่รวมเบี้ย ประชุมจะได้รับประมาณ 92,700 บาท เท่านั้น แต่ปลัดกระทรวง นั้นจะได้เบี้ย ประชุมต่างๆ และหากเป็น สนช.ด้วยจะมี รายได้หลายแสนบาท บางคนรวม แล้วครึ่งล้านบาท ต่อเดือน
แต่ระดับ ข้าราชการ ระดับกลาง และระดับล่าง จะได้เงินน้อย หากไปเทียบกับ ภาคเอกชน หรือรัฐวิสาหกิจ ในส่วนเอกชน นั้นผู้จัดการ จะมีรายได้ เดือนละประมาณ 120,000 บาท ถึง 200,000 บาท ไม่รวมโบนัส รายปี ผู้จัดการฝ่ายได้ 300,000 บาท ซึ่งจะมากกว่า ข้าราชการ เป็นเท่าตัว กรรมการผู้จัดการ และกรรมการ อำนวยการ มีรายได้ถึง 800,000 บาท ถึง 3 ล้านบาท การที่เงิน มันต่างกันมาก จึงทำให้ ทำให้คนดี คนเก่ง ในภาคราชการ มีน้อย และหันไปทำงาน ในส่วนเอกชนกันหมด
ชั่วโมงการ ทำงานของ ราชการ คือ ทำงานตั้งแต่ วันจันทร์ ถึง วันศุกร์ ในเวลาราชการ คือ ตั้งแต่ 08.30 ถึง 16.30 น. และมีเวลาพัก ตั้งแต่ 12.00 น. ถึง 13.00 น.
อัตรารายได้ที่ต่ำ แต่ในขณะ เดียวกัน ค่าครองชีพ กลับพุ่งสูงขึ้นเรื่อย ๆ จึงเป็นปัญหาอย่างมาก ในปัจจุบัน จึงทำให้ คนยุคปัจจุบัน มีรายได้ ไม่เพียงพอ ต่อค่าใช้จ่าย ซึ่งผลสำรวจ ล่าสุดนั้น ในกรุงเทพฯ มีอัตรา ค่าครองชีพสูงที่สุด เป็นอันดับที่ 2 ในอาเซียน ตามมาด้วย เมืองที่มี แหล่งท่องเที่ยว อย่าง ภูเก็ต, พัทยา และเชียงใหม่ ตามลำดับ รายได้ ของข้าราชการนั้น ขึ้นอยู่กับ ระดับ ต่างๆ ที่ได้กล่าวมา ข้างต้น ดังนั้น การใช้ชีวิต ความเป็นอยู่ การเลือก ที่อยู่อาศัย อาหารการกิน สังคม มีความสัมพันธ์ กับรายได้ ที่ได้รับโดยตรง หากมีรายได้ ระดับสูง ก็จะทำให้ การใช้ชีวิต ความเป็นอยู่ การเลือกที่อยู่อาศัย อาหารการกิน สังคม ฯลฯ นั้นดีตามไปด้วย แต่หากมีรายได้ต่ำ ก็จะส่งผลให้การใช้ชีวิต ค่อนข้างมี คุณภาพ ลดลงตามระดับของเงินเดือน
ส่งแบบฟอร์มเรียบร้อยแล้ว